ข้อมูลสารสนเทศ
เพื่อการจัดการระดับบัณฑิตศึกษา
(Information for the Graduate Study Management)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
จัดทำโดย
นางสาวรุ่งนภา ท่วมไธสง
นักวิชาการศึกษา
ลำดับข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ค่าธรรมเนียมการศึกษา และปฏิทินการศึกษา
2. หลักสูตรระดับปริญญาโท
3. หลักสูตตระดับปริญญาเอก
4. เกณฑ์คะแนนภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา
5. เกณฑ์คะแนนภาษาอังกฤษสำหรับนิสิตระดับปริญญาเอก
6. การรายงานผลคะแนนภาษาอังกฤษสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา
7. คุณสมบัติคณาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา
8 . การแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
9. การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาค้าคว้าอิสระ
10. ขั้นตอนการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์
11. การรายงานผลการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์
12. การสอบวัดคุณสมบัติสำหรับนิสิตระดับปริญญาเอก (QE)
13. คุณสมบัติของคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ (ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก)
14. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
15. การขอเปลี่ยนแปลงการสอบวิทยานิพนธ์
16. การรายงานผลการสอบวิทยานิพนธ์
17. การขอเปลี่ยนแปลงชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์
18. การเข้าใช้งานระบบ i-Thesis
19. เกณฑ์การสำเร็จศึกษาระดับปริญญาโท ตามข้อบังคับ ฯ 2558
(เงื่อนไขการเผยแพร่ผลงานที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์)
20. เกณฑ์การสำเร็จศึกษาระดับปริญญาโท ตามข้อบังคับ ฯ 2565
(เงื่อนไขการเผยแพร่ผลงานที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์)
21. เกณฑ์การสำเร็จศึกษาระดับปริญญาเอก ตามข้อบังคับ ฯ 2558
(เงื่อนไขการเผยแพร่ผลงานที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์)
22. เกณฑ์การสำเร็จศึกษาระดับปริญญาเอก ตามข้อบังคับ ฯ 2565
(เงื่อนไขการเผยแพร่ผลงานที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์)
23. การตรวจสอบวารสารเพื่อตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ฯ
24. การรายงานผลการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ ฯ
25. การส่งเล่มวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
26. การยื่นคำร้องขอสำเร็จการศึกษา (NU 25)
27. การขออนุมัติสำเร็จการศึกษา
28. การสมัครกลับเข้าศึกษาใหม่
29. การเทียบโทนผลการศึกษา
30. แหล่งที่มาของข้อมูล
อ่านต่อ
1. ข้อมูลหลักสูตรแยกตามระดับการศึกษา
ค่าธรรมเนียมการศึกษา และปฏิทินการศึกษา
(รายละเอียดหลักสูตร)
2. หลักสูตร
ระดับปริญญาโท
รายละเอียดหลักสูตร
ที่จัดการเรียนการสอน
ในปัจจุบัน
3. หลักสูตร
ระดับปริญญาเอก
รายละเอียดหลักสูตร
ที่จัดการเรียนการสอน
ในปัจจุบัน
5. เกณฑ์คะแนนภาษาอังกฤษรับเข้าศึกษา
สำหรับนิสิตระดับปริญญาเอก
อ่านรายละเอียดประกาศ คลิ๊ก ที่นี่
สมัครเรียน English Proficiency Enhancement for Graduates (EPE)
นิสิตที่สอบไม่ผ่านเกณฑ์ภาษาอังกฤษ สามารถสมัครเรียน EPE Course ได้ โดยสามารถตรวจสอบ Course และขั้นตอนการสมัครเรียนได้
คลิ๊ก ที่นี่
หมายเหตุ
หากนิสิตระดับปริญญาเอกคนใด ยังไม่สามารถรายงานผลคะแนนภาษาอังกฤษตามเกณฑ์แรกเข้าศึกษาได้ภายใน 1 ปีการศึกษาแรก
ในภาคแรกของปีการศึกษาที่สอง ให้ดำเนินการลงทะเบียนรักษาสภาพนิสิต
6. การรายงานผลคะแนนภาษาอังกฤษระดับบัณฑิตศึกษา
ขั้นตอนการดำเนินการ
ใช้แบบ NU 18
คำร้องทั่วไป
แบบ NU 18 คำร้องทั่วไป
3. ยื่นเอกสาร
ผ่านความเห็น
ของอาจารย์ที่ปรึกษา
5. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
7. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่อง ตรวจสอบ และเสนอต่อไปยังมหาวิทยาลัย
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
8.งานทะเบียนนิสิต ฯ กองบริการการศึกษา บันทึกข้อมูลลงประวัติของนิสิตในระบบทะเบียนออนไลน์
4. ยื่นเอกสาร
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
6. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้วส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
2. แนบเอกสาร
ผลคะแนนภาษาอังกฤษ
หมายเหตุ 1. หากนิสิตใช้เอกสารสำเนาผลคะแนนภาษาอังกฤษ และโปรดรับรองผลคะแนนภาษาอังกฤษของตัวเองด้วย
2. ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม NU 18 คำร้องทั่วไป คลิ๊ก ที่นี่
7. คุณสมบัติคณาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา
7.1 อาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา ที่สามารถทำหน้าที่เป็นประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/สอบโครงร่างวิทยานิพนธ์/อาจารย์ที่ปรึกษาค้นคว้าอิสระ/สอนในระดับบัณฑิตศึกษา
1. มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก
หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการระดับ
รองศาสตราจารย์ขึ้นไป
2. มีผลงานทางวิชาการ
ย้อนหลัง 5 ปี จำนวน 3 ผลงาน และ 1 ใน 3
ผลงานจะต้องเป็นผลงานวิจัย
1. มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก
หรือดำรงตำแหน่ง ทางวิชาการ
ระดับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หรือ
รองศาสตราจารย์ขึ้นไป
2. มีผลงานทางวิชาการ
ย้อนหลัง 5 ปี อย่างน้อย จำนวน 1 ผลงาน
7.2 อาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษาที่สามารถ
ทำหน้าที่สอนในระดับบัณฑิตศึกษาได้เพียงอย่างเดียว
8. การแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
2.1 ระดับปริญญาโท ต้องมีผลงานทางวิชาการระดับชาติในเรื่องที่สัมพันธ์กับชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง
2.2 ระดับปริญญาเอก ต้องมีผลงานทางวิชาการระดับนานาชาติในเรื่องที่สัมพันธ์กับชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง
ใช้แบบขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ขั้นตอนการดำเนินการ
7. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่อง และตรวจสอบ
แบบ บว. 11
5. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
3. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะกรรมการที่ปรึกษา ฯ ลงนาม
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
2. แนบเอกสาร
ผลงานทางวิชาการ
4. ยื่นเอกสาร ฯ
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
8.บัณฑิตวิทยาลัยออกประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์แล้วส่งเรื่องกลับมายังคณะต้นสังกัด
6. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้วส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
หมายเหตุ 1. แนบเอกสารผลงานทางวิชาการของคณะกรรมการที่ปรึกษา ฯ 5 ปีย้อนหลังล่าสุด
2. ขอรับสำเนาหนังสือประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ได้ที่ภาควิชาที่สังกัด
3. ดาวน์โหลดเอกสาร บว.11 คลิ๊ก ที่นี่
9. การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้าอิสระ
ขั้นตอนการดำเนินการ
7. บัณฑิตวิทยาลัยออกประกาศ
แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา ฯ
ลงนามโดยคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยแล้วส่งเรื่องกลับมายังคณะต้นสังกัด
3. นิสิตติดต่อเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาที่ภาควิชาที่สังกัด
5. หน่วยบัณฑิตศึกษา
จัดทำบันทึกข้อความถึงคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
อาจารย์ที่ปรึกษา ฯ
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
2. ขอเอกสาร
ผลงานทางวิชาการ
ของอาจารย์ที่ปรึกษา
4. เจ้าหน้าที่ภาควิชา ฯ
ทำบันทึกข้อความ
แจ้งมายังคณะวิศวกรรมศาสตร์
(หน่วยบัณฑิตศึกษา)
6. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่องและตรวจสอบเอกสาร
หมายเหตุ 1. แนบเอกสารผลงานทางวิชาการของอาจารย์ที่ปรึกษา ฯ 5 ปีย้อนหลังล่าสุด
2. ขอรับสำเนาหนังสือประกาศแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองได้ที่ภาควิชาที่สังกัด
3. ศึกษาแนวปฏิบัติในการทำการค้นคว้าอิสระเพิ่มเติมได้ คลิ๊ก ที่นี่
10. ขั้นตอนการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์
ขั้นตอนการดำเนินการ
7. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่อง และตรวจสอบ/เสนออนุมัติ แล้วส่งเรื่องกลับมายังคณะต้นสังกัด
5. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
แบบ บว. 11(1-1)
3.ชำระเงินค่าสอบโครงร่าง ฯ
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
6. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้วส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
2. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะกรรมการที่ปรึกษา ฯ
ลงนาม
4. ยื่นเอกสาร ฯ
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
8. หน่วยบัณฑิตศึกษา ออกประการศแต่งตั้ง
คณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์
ลงนามโดย คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์
หมายเหตุ 1. แนบเอกสาร/หนังสือรับรองการผ่านการอบรมจริยธรรมการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา และแนบใบเสร็จค่าธรรมเนียมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์
2. ชำระค่าธรรมเนียมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ได้ที่งานการเงิน ชั้น 1 อาคารวิศวกรรมโยธา จำนวน 2,000 บาท
3. คณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิยานิพนธ์จะต้องมีอย่างน้อย 3 คน ทำหน้าที่ (1) ประธาน (2) กรรมการ และ (3) กรรมการและเลขานุการ
4. ขอรับสำเนาหนังสือประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์ได้ที่ภาควิชาที่สังกัด
5. ดาวน์โหลดเอกสาร บว.11(1-1) คำร้องขอรับการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์ คลิ๊ก ที่นี่
11. การรายงานผลการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์
ใช้แบบอนุมัติผลการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์ บว.11(2-1)
และแบบอนุมัติจัดทำประกาศโครงร่างวิทยานิพนธ์เพื่อดำเนินการทำวิจัย บว.11 (3)
ขั้นตอนการดำเนินการ
7. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่อง และตรวจสอบ/เสนออนุมัติ แล้วส่งเรื่องกลับมายังคณะต้นสังกัด
แบบ บว. 11(2-1)
และ บว. 11 (3)
3. ยื่นเอกสาร บว.11(3)
ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ลงนาม
5. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
2. ยื่นเอกสาร บว.11(2-1)
ผ่านคณะกรรมการการสอบโครงร่าง ฯ
ลงนาม
4. ยื่นเอกสาร ฯ
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
6. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้วส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
8.หน่วยบัณฑิตศึกษาส่งประกาศอนุมัติให้ดำเนินการวิจัย กลับไปที่ภาควิชา
หมายเหตุ 1. หลังสอบโครงร่างเสร็จแล้ว ให้แนบเล่มโครงร่างวิทยานิพนธ์ จำนวน 1 เล่ม พร้อมกับ บว.11(2-1) และ บว.11 (3)
และแนบสำเนาเอกสาร บว.11 (1-1) ที่ได้รับอนุมัติแล้วจำนวน 1 ฉบับ และแนบสำเนาประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์
จำนวน 1 ฉบับ และ บว.14 แบบยืนยันความเกี่ยวข้อง-ไม่เกี่ยวข้องของวิทยานิพนธ์กับจริยธรรมการวิจัย คลิ๊ก ดาวน์โหลด บว.14 ที่นี่
2. แบบฟอร์ม บว.11(2-1) แบบอนุมัติผลการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์ อยู่ในไฟล์เดียวกับ แบบฟอร์ม บว. 11(1-1)
3. ขอรับสำเนาหนังสือประกาศอนุมัติจัดทำประกาศโครงร่างวิทยานิพนธ์เพื่อดำเนินการวิจัยได้ที่ภาควิชาที่สังกัด
4. แบบอนุมัติจัดทำประกาศโครงร่างวิทยานิพนธ์เพื่อดำเนินการทำวิจัย บว.11(3) คลิ๊ก ที่นี่
12. การสอบวัดคุณสมบัติสำหรับนิสิตระดับปริญญาเอก (QE)
สิ่งที่นิสิตระดับปริญญาเอกควรทราบ ประกอบด้วย
1. การสอบวัดคุณสมบัติ สำหรับนิสิตปริญญาเอก
2. ใบสมัครสอบวัดคุณสมบัติ (QUALIFYING EXAMINATION)
3. แบบคำร้องขอสมัครสอบวัดคุณสมบัติ
4. Downloadfile (ภาษาไทย)
5. Downloadfile(Eng)
6. เกณฑ์การตัดสินผลการสอบ/แนวปฏิบัติการสอบวัดคุณสมบัติ
7. ปฏิทินการสอบวัดคุณสมบัติ
8. ประกาศเกี่ยวกับการสอบวัดคุณสมบัติ สำหรับนิสิตปริญญาเอก
9. เนื้อหาสาระการสอบวัดคุณสมบัติ
Note
ค่าธรรมเนียมสอบวัดคุณสมบัติสำหรับนิสิตระดับปริญญาเอก จำนวน 500 บาท (สามารถชำระผ่านระบบออนไลน์ โดยการสแกน QR Code)
ศึกษารายละเอียดและขั้นตอนการสอบวัดคุณสมบัติได้เพิ่มเติม โดยคลิ๊ก ที่นี่
13. คุณสมบัติของคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
(ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก)
กรณีเชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
มาทำหน้าที่เป็นประธานคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
ตามประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่องแนวปฏิบัติในการทำวิทยานิพนธ์ พ.ศ. 2560
ระดับปริญญาโท
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ ที่อยู่ในฐานข้อมูลเป็นที่ยอมรับ จำนวนไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง
ระดับปริญญาเอก
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ที่อยู่ในฐานข้อมูลเป็นที่ยอมรับ จำนวนไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง
14. ขั้นตอนการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
ใช้แบบฟอร์ม บว.21 แบบขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
ขั้นตอนการดำเนินการ
7. บัณฑิตวิทยาลัย รับเรื่อง และตรวจสอบ/เสนออนุมัติ แล้วส่งเรื่องกลับมายังคณะต้นสังกัด
แบบ บว. 21 และ บว.22
5. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
3.ชำระเงินค่าสอบวิทยานิพนธ์
2. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะกรรมการที่ปรึกษา ฯ
ลงนาม
4. ยื่นเอกสาร ฯ
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
6. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้ว
ส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
8.หน่วยบัณฑิตศึกษาสำเนาเอกสารคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ให้กับภาควิชา
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
Note
ยื่นคำร้อง
ขอสอบวิทยานิพนธ์
ก่อนวันสอบวิทยานิพนธ์
อย่างน้อย 30 วันทำการ
หมายเหตุ 1. ชำระค่าธรรมเนียมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ได้ที่งานการเงิน ชั้น 1 อาคารวิศวกรรมโยธา
หลักสูตรภาษาไทย ระดับปริญญาโท จำนวน 5,000 บาท หลักสูตรนานาชาติ ระดับปริญญาโท จำนวน 7,000 บาท
หลักสูตรภาษาไทย ระดับปริญญาเอก จำนวน 7,000 บาท หลักสูตรนานาชาติ ระดับปริญญาเอก จำนวน 10,000 บาท
2. ขอรับสำเนาหนังสือประกาศแต่งตั้งคณะกรรมสอบวิทยานิพนธ์ได้ที่ภาควิชาที่สังกัด
3. ดาวน์โหลดเอกสาร บว.21 แบบขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และ บว.22 แบบรายงานผลการเรียน คลิ๊ก ที่นี่
15. การขอเปลี่ยนแปลงการสอบวิทยานิพนธ์
ใช้แบบฟอร์ม บว.21(1) แบบขออนุมัติเปลี่ยนแปลงการสอบวิทยานิพนธ์
ขั้นตอนการดำเนินการ
7.หน่วยบัณฑิตศึกษาสำเนาเอกสารขออนุมัติเปลี่ยนแปลงการสอบวิทยานิพนธ์ส่งกลับมาที่ภาควิชา
5. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้วส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
3. ยื่นเอกสาร ฯ
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
แบบ บว. 21 (1)
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
6. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่อง และตรวจสอบ/เสนออนุมัติ แล้วส่งเรื่องกลับมายังคณะต้นสังกัด
2. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะกรรมการที่ปรึกษา ฯ
ลงนาม
4. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
Note
กรณีที่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงกำหนดการสอบวิทยานิพนธ์ หรือเปลี่ยนคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
หมายเหตุ 1. ขอรับสำเนาหนังสือประกาศแต่งตั้งคณะกรรมสอบวิทยานิพนธ์ได้ที่ภาควิชาที่สังกัด
2. ยื่นคำร้องขอเปลี่ยนแปลงการสอบวิทยานิพนธ์ก่อนวันสอบวิทยานิพนธ์ อย่างน้อย 15 วันทำการ
3. ดาวน์โหลดเอกสาร บว.21 (1) แบบขออนุมัติเปลี่ยนแปลงการสอบวิทยานิพนธ์ คลิ๊ก ที่นี่
16. การรายงานผลการสอบวิทยานิพนธ์
ใช้แบบฟอร์ม บว.24 แบบนำส่งรายงานผลการสอบวิทยานิพนธ์
ขั้นตอนการดำเนินการ
3. แนบเอกสารแบบประเมินคุณภาพวิทยานิพนธ์เพื่อกำหนดให้ระดับดีเด่น กรณีได้รับคะแนนประเมินตั้งแต่ 90 คะแนนขึ้นไป
5. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
7. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่อง และตรวจสอบ/เสนออนุมัติ
แบบ บว. 24
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
2. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
ลงนาม
6. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้วส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
4. ยื่นเอกสาร ฯ
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
Note
หากแบบประเมินคุณภาพวิทยานิพนธ์ได้คะแนนรวมน้อยกว่า 90 คะแนน
ไม่ต้องแนบในเอกสารประกอบแบบรายงานผลการสอบวิทยานิพนธ์
หมายเหตุ 1. ให้ดำเนินการยื่นเอกสารรายงานผลการสอบวิทยานิพนธ์จากหลกวันสอบ ภายใน 14 วัน
2. ดาวน์โหลดเอกสาร ขอนำส่งแบบรายงานผลการสอบวิทยานิพนธ์ (บว.24) คลิ๊ก ที่นี่
17. การขอเปลี่ยนแปลงชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์
ใช้แบบฟอร์ม บว.11(4) แบบขออนุมัติเปลี่ยนแปลงชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์
ขั้นตอนการดำเนินการ
5. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้วส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
6. หน่วยบัณฑิตศึกษาส่งสำเนาเรื่องกลับไปยังภาควิชา
3. ยื่นเอกสาร ฯ
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
แบบ บว. 11 (4)
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
6. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่อง และตรวจสอบ/เสนออนุมัติ แล้วส่งสำเนาอนุมัติกลับมายังคณะ
2. ยื่นเอกสาร
ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
4. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
หมายเหตุ 1. ให้ดำเนินการยื่นเอกสารขอเปลี่ยนแปลงชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์ ในกรณีที่นิสิตได้รับอนุมัติ/ประกาศให้ดำเนินการวิจัยแล้ว
2. ดาวน์โหลดเอกสาร บว.11(4) แบบขออนุมัติเปลี่ยนแปลงชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์ คลิ๊ก ที่นี่
18. การเข้าใช้งานระบบ i-Thesis
Log in เข้าใช้งานระบบ ด้วย
รหัสนิสิต และรหัสผ่าน เช่นเดียวกับ Log in เข้าระบบทะเบียนออนไลน์ของมหาวิทยาลัยนเรศวร www.reg.nu.ac.th
4. ติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ดูแลระบบ i-Thesis
+ iThesis : 0-5596-8841
19. เกณฑ์การสำเร็จศึกษาระดับปริญญาโท ตามข้อบังคับ ฯ สกอ. ปี 2558
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
(การตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ)
แยกตามแผนการศึกษา
ตามข้อบังคับ มหาวิทยาลัยนเรศวร ฯ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559
แผน ก แบบ ก 1
แผน ก แบบ ก 2
แผน ข
ส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์เป็นบทความวิจัยในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติ 1 เรื่อง
ส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์เป็นบทความวิจัยในวารสารระดับชาติ หรือ ระดับนานาชาติ 1 เรื่อง หรือ นำเสนอบทความในที่ประชุมวิชาการและได้รับรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings)
รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระหรือส่วนหนึ่งของรายงานการค้นคว้าอิสระต้องได้รับการเผยแพร่หรือนำเสนอในที่ประชุมวิชาการเป็นบความวิจัยหรือบทความวิชาการและได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings)
20. เกณฑ์การสำเร็จศึกษาระดับปริญญาโท ตามข้อบังคับ ฯ สกอ. 2565
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
(การตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ)
แยกตามแผนการศึกษา
ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565
แผน 1
(แผน ว.1 /แผน 1 ว.2)
ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการเผยแพร่ในรูปแบบบทความ ผลงานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม หรือ สิ่งประดิษฐ์ หรือผลงานทางวิชาการอื่นซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามประกาศมหาวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย
แผน 2
รายงานการค้นคว้าอิสระหรือส่วนหนึ่งของรายงานการค้นคว้าอิสระต้องได้รับการเผยแพร่ ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามประกาศมหาวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย
21. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ตามข้อบังคับ ฯ 2558
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
(การตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ)
แยกตามแผนการศึกษา
แบบ 1.1
แบบ 1.2
Full Paper จำนวน 2 เรื่อง
วารสารระดับชาติ TCI กลุ่ม 1
จำนวน 1 เรื่อง
แบบ 2.1
แบบ 2.2
22. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ตามข้อบังคับ ฯ 2565
เลือกตามเงื่อนไข ข้อที่ 1 หรือ ข้อที่ 2
ในแต่ละแบบแผนการศึกษาได้
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
(การตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ)
แยกตามแผนการศึกษา
ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2565
1. วารสารระดับนานาชาติ 2 เรื่อง หรือ
2. วารสารระดับนานาชาติ 1 เรื่อง และ ผลงานนวัตกรรม 1 เรื่อง หรือ ผลงานสร้างสรรค์ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เชิงสังคมและเศรษฐกิจ อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือ ได้รับ สิทธิบัตร อย่างน้อย 1 สิทธิบัตร
แผน 1
(แบบ 1.1 และ 1.2)
1. วารสารระดับนานาชาติ 1 เรื่อง หรือ
2. วารสารระดับนานาชาติ 1 เรื่อง และ ผลงานนวัตกรรม 1 เรื่อง หรือ ผลงานสร้างสรรค์ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เชิงสังคมและเศรษฐกิจ อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือได้รับ สิทธิบัตร อย่างน้อย 1 สิทธิบัตร
แผน 2
(แบบ 2.1 และ 2.2)
23. การตรวจสอบวารสารเพื่อตีพิมพ์/
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ฯ
Research Support System
เป็นบริการช่วยตรวจสอบคุณภาพของวารสาร ที่อาจารย์และนักวิจัยต้องการตีพิมพ์ผลงานทั้งระดับชาติและนานาชาติ โดยมุ่งเน้นตีพิมพ์เฉพาะในฐานข้อมูล SCOPUS, Web of Science และ TCI (Thai Journal Citation Index) พร้อมระดับคุณภาพของวารสาร ได้แก่ ค่า Journal Impact Factor (Clarivate Analytic) และ Thai Journal Impact Factor ของวารสารระดับชาติ รวมถึงค่า SJR Quartile จากเว็บไซต์ Scimago Journal & Country Rank
ข้อควรระวัง
1. กรณีการจะส่งวารสารตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ ไม่ควรค้นหา URL วารสารจาก search engine เช่น Google หรือ Bing เนื่องจากอาจพบ Clone website ที่สร้างเป็น Phishing web คือ การปลอมแปลงหน้าเว็บไซต์จริง แหล่งที่อยู่ของเว็บไซต์วารสารปลอมที่สร้างได้เสมือนจริงและยากที่จะตรวจสอบได้ และในบางครั้งก็จะมีทีมบรรณาธิการปลอมตอบรับการตีพิมพ์บทความทางอีเมลแต่ไม่ได้มีการนำบทความไปตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูลที่ได้รับการรับรองระดับสากลจริง ๆ
2. ตรวจสอบฐานข้อมูลวารสารอยู่ได้รับการรับรองในระดับสากลโดยตรง หรือจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เช่น https://www.scopus.com/ แล้วเลือก “Download Scopus Source List” เป็นต้น
24. การรายงานผลการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ ฯ
ใช้แบบฟอร์ม บว.20 แบบขออนุมัติผลการตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์
ขั้นตอนการดำเนินการ
5. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้วส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
6. หน่วยบัณฑิตศึกษาส่งสำเนาเรื่องกลับไปยังภาควิชา
3. ยื่นเอกสาร ฯ
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
แบบ บว. 20
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
6. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่อง และตรวจสอบ/เสนออนุมัติ ส่งสำเนาอนุมัติกลับมายังคณะ
2. ยื่นเอกสาร
ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
4. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
25. การส่งเล่มวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
ใช้แบบฟอร์ม บว.26 แบบนำส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
ขั้นตอนการดำเนินการ
5. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้ว
ส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
3. ยื่นเอกสาร ฯ
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
แบบ บว. 26
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
4. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
6. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่อง และตรวจสอบ/เสนออนุมัติ
2. ยื่นเอกสาร
ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
หมายเหตุ 1. ดาวน์โหลดเอกสาร บว. 26 คลิ๊ก ที่นี่
2. ให้นิสิตนำเล่มวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ไปส่งที่บัณฑิตวิทยาลัย เนื่องจากต้องลงนามส่งเอกสารด้วยตัวเอง
3. หลังจากที่คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยลงนามเล่มวิทยานิพนธ์แล้ว ให้นิสิตไปรับเล่มวิทยานิพนธ์ที่บัณฑิตวิทยาลัย
เนื่องจากต้องลงนามรับเอกสารด้วยตนเอง
26. การยื่นคำร้องขอสำเร็จการศึกษา (มน. 25)
ใช้แบบฟอร์ม มน. 25 แบบยื่นสำเร็จการศึกษา
ขั้นตอนการดำเนินการ
3. เลือกแถบเมนู
“ตรวจสอบจบ”
5. คลิ๊ก
“ดำเนินการยื่นสำเร็จการศึกษา”
9. คลิ๊กเมนู
“Print Bill Payment”
7. ยืนยันข้อมูล-
บันทึกข้อมูล
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
10. นำส่งแบบฟอร์ม NU 25
ได้ที่งานทะเบียนนิสิต ฯ อาคารเรียนรวม (QS) ชั้น 1 พร้อมรูปถ่ายชุดครุยขนาด 2 นิ้ว จำนวน 2 รูป
2. Log in ด้วย
รหัสนิสิต และ Password
ของนิสิต
4. เลือกแถบเมนู
“แจ้งจบ-สำเร็จการศึกษา”
6. กรอกข้อมูลส่วนตัวตามแบบฟอร์มที่กำหนด
8. สั่งพิมพ์ NU25
หมายเหตุ 1. นิสิตสามารถเลือกชำระค่าขึ้นทะเบียนมหาบัณฑิต/ดุษฎีบัณฑิต ผ่านการสแกน QR Code ค่าขึ้นทะเบียนมหาบัณฑิต/ดุษฎีบัณฑิต จำนวน 2,500 บาท
2. กำหนดการยื่นคำร้อง มน. 25 คือ ให้ยื่นภายใน 30 วัน นับจากวันเปิดภาคการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา
3. หากนิสิตไม่ดำเนินการยื่นคำร้อง มน. 25 ภายในระยะเวลาที่กำหนด จะต้องยื่นคำร้อง NU 9 คำร้องขอยื่นสำเร็จการศึกษาล่าช้ากว่ากำหนด
ทั้งนี้ นิสิตจะต้องชำระค่าธรรมเนียมค่าปรับอีกวันละ 50 บาท
4. หากนิสิตยื่นคำร้อง มน. 25 และชำระเงินค่าขึ้นทะเบียนเรียบร้อยแล้ว แต่ยังไม่สำเร็จการศึกษาในภาคการศึกษานั้น ๆ นิสิตจะต้องยื่นคำร้อง มน. 25 ใหม่ พร้อมรูปถ่ายชุดครุย
ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 2 รูป ทุกภาคการศึกษา โดยไม่ต้องชำระเงินค่าขึ้นทะเบียน ฯ ใหม่
27. การขออนุมัติสำเร็จการศึกษา
ขั้นตอนการดำเนินการ
3. ยื่นเอกสาร ฯ
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
5. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้วส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
แบบ บว. 27/บว.28
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
2. ยื่นเอกสาร
ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
4. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
6. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่อง และตรวจสอบ/เสนออนุมัติ
หมายเหตุ 1. แบบฟอร์ม บว.27 แบบขออนุมัติสำเร็จการศึกษา (ป.โท) คลิ๊ก ที่นี่
2. แบบฟอร์ม บว.27 แบบขออนุมัติสำเร็จการศึกษา(ป.โท แผน ข/แผน 2) คลิ๊ก ที่นี่
3. แบบฟอร์ม บว.28 แบบขออนุมัติสำเร็จการศึกษา (ป.เอก) คลิ๊ก ที่นี่
4. ให้แนบเอกสาร เพิ่มเติม 2 รายการได้แก่
4.1 แบบสอบถามข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการประเมินความพึงพอใจของนายจ้าง/ผู้ประกอบการ/ผู้ใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
4.2 ข้อมูลรางวัล ค่าใช้จ่ายและทุนในการทำวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระของผู้สำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
28. การสมัครกลับเข้าศึกษาใหม่
ใช้แบบฟอร์ม NU 18 แบบคำร้องทั่วไป
ขั้นตอนการดำเนินการ
Re-code
แบบฟอร์ม NU 18 คำร้องทั่วไป โดยให้ใช้ชื่อเรื่อง “ขออนุมัติกลับเข้าศึกษาใหม่เป็นกรณีพิเศษ”
7. ชำระเงินค่าธรรมเนียมสมัครกลับเข้าศึกษาใหม่ เป็นกรณีพิเศษ จำนวน 1,000 บาท ที่กองคลัง อาคารมิ่งขวัญ ชั้น 1
5. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้วส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
3. ยื่นเอกสาร ฯ
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
8. รอรายงานตัวขึ้นทะเบียนนิสิตใหม่
2. ยื่นเอกสาร
ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
4. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
6. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่อง และตรวจสอบ/เสนออนุมัติ
หมายเหตุ 1. การสมัครกลับเข้าศึกษาใหม่เป็นกรณีพิเศษ ใช้ในกรณีที่นิสิตครบกำหนดระยะเวลาการศึกษาแล้ว แต่ยังไม่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด
2. การสมัครกลับเข้าศึกษาใหม่ กรณีพิเศษ เนื่องจากครบกำหนดระยะเวลาการศึกษาแล้ว นิสิตที่ได้รับอนุมัติให้กลับเข้าศึกษาใหม่
จะเสียค่าธรรมเนียมการศึกษาจำนวน 50% ของค่าธรรมเนียมการศึกษาของหลักสูตรนั้น ๆ
3. นิสิตที่ได้รับอนุมัติให้กลับเข้าศึกษาใหม่ จะต้องศึกษาอยู่ในระบบการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยต่อไปอีกอย่างน้อย 1 ปีการศึกษา
จึงจะสามารถยื่นขอสำเร็จการศึกษาได้
4. แบบฟอร์ม NU 18 คำร้องทั่วไป คลิ๊ก ที่นี่
29. การเทียบโทนผลการศึกษา
ขั้นตอนการดำเนินการ
ใช้แบบฟอร์ม NU 14 คำร้องขอเทียบโอนรายวิชา
7. ชำระเงินค่าเทียบโอนรายวิชา จำนวน 100 บาท ที่กองคลัง
อาคารมิ่งขวัญ ชั้น 1
แบบฟอร์ม NU 14 คำร้อง
ขอเทียบโอนรายวิชา
3. ยื่นเอกสาร ฯ
ผ่านภาควิชาที่สังกัด
5. หน่วยบัณฑิตศึกษา
เสนอคณบดีลงนามแล้วส่งต่อไปยังบัณฑิตวิทยาลัย
เสร็จสิ้น
การดำเนินการ
6. บัณฑิตวิทยาลัย
รับเรื่อง และตรวจสอบ/เสนออนุมัติ
2. ยื่นเอกสาร
ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
4. ยื่นเอกสาร
ผ่านคณะที่สังกัดได้ที่
หน่วยบัณฑิตศึกษา
หมายเหตุ 1. กรอกข้อมูลรายวิชาที่จะขอเทียบโอนรายวิชา (ทั้งนี้ จะต้องเป็นรายวิชาที่เคยศึกษามาแล้วไม่เกิน 5 ปีการศึกษา) ยกเว้นรายวิชาวิทยานิพนธ์
2. แนบเอกสาร คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ประกาศอนุมัติให้ดำนินการวิจัย หนังสือรับรองการตีพิมพ์ (ถ้ามี)
3. แนบผลการสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติสำหรับนิสิตระดับปริญญาเอก (เฉพาะนิสิตระดับปริญญาเอก)
4. แนบคำอธิบายรายวิชาหลักสูตรที่เคยเข้าศึกษา และหลักสูตรใหม่ที่กำลังเข้าศึกษา
5. แบบฟอร์ม NU 14 คำร้องขอเทียบโอนรายวิชา คลิ๊ก ที่นี่
30. แหล่งที่มาของข้อมูล
1. เว็บไซต์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร https://www.graduate.nu.ac.th/
2. เว็บไซต์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร http://www.eng.nu.ac.th/eng2012/index.php
และ http://www.eng.nu.ac.th/eng2022/course-study.php?MainN=003
3. เว็บไซต์ของกองบริการการศึกษา www.reg.nu.ac.th